top of page

.     ถ้า  และ  เป็นพหุนามสองพหุนาม โดยที่  เราจะเรียก  ว่า เศษส่วนของพหุนาม  (Fractional        Polynomial)  จะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า  เศษส่วนของพหุนาม ก็คือการเขียนพหุนามให้อยู่ในรูปของเศษส่วนนั่นเองครับ และมีเงื่อนไขเพิ่ม เติมว่า พหุนามที่เป็นตัวส่วนจะต้องไม่เท่ากับศูนย์ด้วย
…….เนื่องจากพหุนามเป็นจำนวนจริง ดังนั้น เศษส่วนของพหุนามจึงเป็นจำนวนจริง เราจึงใช้กฎ                เกณฑ์ในการบวก ลบ คูณ หาร จำนวนจริงกับเศษส่วนของพหุนามได้

การคูณและการหารเศษส่วนของพหุนาม

           2.2 การคูณพหุนาม การคูณพหุนาม ในการหาผลคูณของจํานวนใดๆ เราสามารถใช้สมบัติการสลับที) สมบัติการเปลี)ยนกลุ่ม และสมบัติการแจกแจง มาหาผลคูณของจํานวนนั,นๆได้ สมบัติการแจกแจง คือ a (b + c) = (a×b) + ( a×c) สมบัติการสลับที คือ a× b = b × a สมบัติการเปลียนกล่มุ คือ (a×b) ×c = a × (b × c) การหาผลคูณของพหุนามกับพหุนาม มีหลักเกณฑ์ดังนี" การหาผลคูณของพหุนามกบพหุนาม ั ทําได้โดยการคูณแต่ละพจน์ของพหุนามหนึ)งกบทุกๆ ั พจน์ ของอีกพหุนามหนึ)งแล้วนําผลคูณเหล่านั,นมาบวกกนั การคูณพหุนาม มี 2 รูปแบบ คือการคูณในแนวนอน และการคูณในแนวตั,ง

การคูณพหุนามในแนวนอน (ใช้สมบัติการแจกแจง) ตัวอย่างที 1 จงหาผลคูณ (x + 2)(2x - 5) วิธีทํา (x + 2)(2x - 5) = (x)(2x) + (x)(-5) + (2)(2x) + (2)(-5) = 2x2 - 5x + 4x - 10 = 2x2 - x - 10 ตอบ 2x2 - x - 10 ตัวอย่างที 2 จงหาผลคูณ (3x2 - 5)(-x3 + 2x - 1) วิธีทํา (3x2 - 5)(-x3 + 2x - 1) = (3x2 )(-x3) + (3x2 )(2x) + (3x2 )(-1) + (-5)(-x3 ) + (-5)(2x) + (-5)(-1) = -3x5 + 6x3 - 3x2 + 5x3 - 10x + 5 = -3x5 + 11x3 - 3x2 - 10x + 5 ตอบ -3x5 + 11x3 - 3x2 - 10x + 5

bottom of page